สมาชิกในกลุ่ม รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ กุมภาพันธ์ 11, 2561 สมาชิกในกลุ่ม นางสาว ณัฐชนา ยอดทอง ม.4/6 เลขที่ 4 นางสาว เปรมิกา วงษหาญ ม.4/6 เลขที่ 9 นางสาว วาสนา แก้วมาก ม.4/6 เลขที่ 10 นางสาว ลดาวัลย์ เยาวรส ม.4/6 เลขที่ 14 รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ความคิดเห็น
เปลือกโลก เนื้อโลก และ แก่นโลก กุมภาพันธ์ 11, 2561 เปลือกโลก เปลือกโลกเป็นโครงสร้างชั้นนอกสุดของโลก มีสถานะเป็นของแข็ง เป้นชั้นที่ที่มีอุณหภูมิ ความดันและความหนาแน่นต่ำกว่าภายในโลกมาก เปลือกโลกแบ่งออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ เปลือกโลกทวีป และ เปลือกโลกโลกหมาสมุทร เนื้อโลก เนื้อโลกเป็นโครงาร้างโลกสร้างที่อยู่ระหว่างเปลือกโลกและแก่นโลก มีความหนาประมาณ 2,885 กิโลเมตร เป็นชั้นที่มีอุรหภูมิ ความดันและความหนาแน่นสูงกว่าเปลือกโลก แต่น้อยกว่าแก่นโลก แก่นโลก แก่นโลก เป็นโครงสร้างชั้นในสุดของโลก มีความหนาประมาณ 3486 กิโลเมตร ประกอบด้วยธาตุเหล็กและนิกเกิลเป็นส่วนใหญ่ ชั้นนี้มีอุณหภูมิ ความดันและความหนาแน่นสูงที่สุด อ่านเพิ่มเติม
ลักษณะโครงสร้างโลกแต่ละชั้น กุมภาพันธ์ 11, 2561 ลักษณะโครงสร้างโลก จากการศึกษาโครงสร้างโลกพบว่าโครงสร้างโลกแต่ละชั้นมีลักษระทางกายภาพที่แตกต่างกัน โครงสร้างชั้นนอกสุด คือ เปลือกโลก (crust) เป็นชั้นที่มีตวามหนาน้อยที่สุดเมื่อเทียบกับชั้นอื่นๆ ถัดไปจากเปลือกดลกลึกเข้าไปข้างใน คือ เนื้อโลก (mantle) และถัดจากเนื้อโลกลึกเข้าไปข้างในสุด คือ แก่นโลก (core) ซึ่งเป็นชั้นที่หนาที่สุดของโครงสร้างโลก อ่านเพิ่มเติม
คลื่นในตัวกลาง กุมภาพันธ์ 11, 2561 คลื่นในตัวกลาง คลื่นในตัวกลาง (Body wave) เดินทางจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ผ่านเข้าไปในเนื้อโลกในทุกทิศทาง ในลักษณะเช่นเดียวกับคลื่นเสียงซึ่งเดินทางผ่านอากาศในทุกทิศทาง คลื่นในตัวกลาง มี 2 ชนิด ได้แก่ คลื่นปฐมภูมิ (P wave) และ คลื่นทุติยภูมิ (S wave) ดังภาพที่ 2 คลื่นปฐมภูมิ (P wave) เป็นคลื่นตามยาวที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลาง โดยอนุภาคของตัวกลางนั้นเกิดการเคลื่อนไหวแบบอัดขยายในแนวเดียวกับที่คลื่นส่งผ่านไป คลื่นนี้สามารถเคลื่อนที่ผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส เป็นคลื่นที่สถานีวัดแรงสั่นสะเทือนสามารถรับได้ก่อนชนิดอื่น โดยมีความเร็วประมาณ 6 – 7 กิโลเมตร/วินาที คลื่นทุติยภูมิ (S wave) เป็นคลื่นตามขวางที่เกิดจากความไหวสะเทือนในตัวกลางโดยอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนไหวตั้งฉากกับทิศทางที่คลื่นผ่าน มีทั้งแนวตั้งและแนวนอน คลื่นชนิดนี้ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้น ไม่สามารถเดินทางผ่านของเหลว คลื่นทุต... อ่านเพิ่มเติม
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น